ที่ตั้ง ในหมู่เกาะคาริบเบียน ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลา
ภูมิอากาศ ร้อนชื้น ฝนตกชุกในเดือน มิถุนายน - ตุลาคม
พื้นที่ 430 ตารางกิโลเมตร แนวชายฝั่ง 97 กิโลเมตร ภูมิประเทศเป็นที่ราบ โดยรอบเกาะแล้ง เพิ่มระดับสูงชันขึ้นจนถึงตอนกลาง
ประชากร 300,000 คน (2549)
เมืองหลวง Bridgetown
ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษ
ศาสนา โปรเตสแตนท์ 67% โรมันคาทอลิก 4% ไม่นับถือศาสนา 17% อื่นๆ 12%
เชื้อชาติ Barbadian แบ่งเป็นผิวดำ 90% ผิวขาว 4% อื่น ๆ 6%
หน่วยเงินตรา Barbadian Dollars (Bds$ ) US$1 = Bds$ 2.00 (คงที่)
สมาชิกองค์การระหว่างประเทศ ACP, C, CARICOM, ECLAC, FAO, G77, IADB IBRD, ICAO, ICFTU, IFAD, ILO, IMF, Intelsat ITU, NAM, OECS, OAS, UN, UNCTAD, UNESCO, UNIDO, UPU, WFTU, WHO, WIPO, WMO
วันสำคัญ (วันประกาศอิสรภาพ) 30 พฤศจิกายน 2509
รูปแบบการปกครอง เป็นรัฐในเครือ Commonwealth ประชาธิปไตยระบอบรัฐสภา แบ่งการปกครองออกเป็น 11 เขต (parish) + 1 เมืองหลวง
ประมุขของประเทศ พระราชินีอลิซาเบ็ทอังกฤษ โดยมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ คือ Sir Clifford Straughn Husbands
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ แบบ 2 สภา
- วุฒิสมาชิก (21 คน แต่งตั้งโดยผู้สำเร็จราชการ)
- สภาผู้แทนราษฎร (30 คน ด้วยการเลือกตั้งโดยตรงทุก 5 ปี)
ฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรี นาย Owen Seymour Arthur (มาจากการแต่งตั้งโดยผู้สำเร็จราชการตั้งแต่ 2537) คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยผู้สำเร็จราชการ ด้วยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี
ฝ่ายตุลาการ ระบบกฎหมายมหาชนแบบอังกฤษ ใช้ศาลสูงสุด โดยมีคณะกรรมาธิการด้านตุลาการแต่ตั้งผู้พิพากษา
การเลือกตั้งครั้งล่าสุด 21 พฤษภาคม 2546
การเลือกตั้งครั้งต่อไป พฤษภาคม 2551
พรรคการเมืองหลัก พรรค Barbados Labor Party (พรรคของนายกรัฐมนตรี) Democratic Labor Party, People's Empowerment Party
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติรวม (2549) 3.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (2549) ร้อยละ 3.8
โครงสร้างผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (2542) พื้นฐานเศรษฐกิจมาจากการปลูกอ้อยและกิจการท่องเที่ยว เริ่มหันมามีรายได้หลักจากอุตสาหกรรมขั้นต้น โดยมีการบริการด้าน offshore finance and information services
รายได้ประชาชาติต่อหัว (2549) 12,667 ดอลลาร์สหรัฐ
จำนวนแรงงาน (2544) 128,500 ว่างงาน ร้อยละ 8.7 (2549)
อัตราเงินเฟ้อ (2549) ร้อยละ 5.6
หนี้สินต่างประเทศ (2546) 668 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ทรัพยากรธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปลา ก๊าซธรรมชาติ
อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว น้ำตาล อุตสาหกรรมชิ้นส่วนเพื่อส่งออก
เกษตรกรรม อ้อย ผัก และฝ้าย
มูลค่าการนำเข้า (2549) 1,433.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สินค้าเข้าที่สำคัญ สินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องจักร อาหาร วัสดุก่อสร้างสารเคมี เชื้อเพลิง และชิ้นส่วนไฟฟ้า
ประเทศคู่ค้าการนำเข้าที่สำคัญ
สหรัฐฯ 36.5%
กลุ่มประเทศ CARICOM 24.7%
ยุโรป 7.6%
สหราชอาณาจักร 5.5%
แคนาดา 5%
มูลค่าการส่งออก (2549) 245.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สินค้าออกที่สำคัญ (2540) สารเคมีภัณฑ์ รัม น้ำตาลและกาก อุปกรณ์ไฟฟ้าประเทศคู่ค้าการส่งออกที่สำคัญ
กลุ่ม CARICOM 37.8%
สหรัฐฯ 12.8%
สหราชอาณาจักร 8.7%
แคนาดา 4.4%
สถิติการค้าไทย-บาร์เบโดส (หน่วย: ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
2546 2547 2548 2549
มูลค่าการค้า 2.53 4.03 7.30 9.34
ส่งออก 2.43 3.88 7.23 9.03
นำเข้า 0.10 0.14 0.07 0.31
ดุลการ 2.33 3.74 7.17 8.72
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับบาร์เบโดส |
การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต 22 พฤศจิกายน 2531
สินค้าที่ไทยนำเข้า เครื่องดื่มประเภทน้ำแร่ น้ำอัดลมและสุรา เครื่องเพชร พลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
สินค้าที่ไทยส่งออก รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เครื่องปรับอากาษและส่วนประกอบ ตู้เย็น ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ เสื้อผ้าสำเร็จรุป เครื่องวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ
วันที่ 21 สิงหาคม 2550
เรียบเรียงโดย กองลาตินอเมริกา กรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ โทร. 0-2643-5113-4 Fax. 0-2643-5115 E-mail : american03@mfa.go.th
|
|