ส่วนพระนามพระเจ้าแผ่นดินที่สืบต่
ส่วนพระนามพระเจ้าแผ่นดินที่สืบต่อจากพระนารายณ์นั้นคือ
นอกราชสมบัติ ในราชสมบัติ พระชนมพรรษา
1.
เจ้าพระยาสุรสีห์
54 14 68
2.
พระสุรินทราชา
49 7 56
3.
พระภูมินทราชาธิราช (โอรส 2)
30 24 54
4.
พระธรรมราชา (อนุชา 3)
51 21 72
5.
พระอุทุมพรราชา (โอรส 4)
20 3
เดือน
6.
พระเอกาทัศราชา (เชษฐา 5) 40
9 49
พระเจ้าแผ่นดิน
กรุงศรีอยุธยาจึงสิ้นสุดราชวงศ์ใน พ.ศ.2310
ครั้นเมื่อตรวจสอบพระนามของกษัตริย์ที่ครองราชย์มาตั้งแต่
จุลศักราช 501 ปี คือ พ.ศ.1681 นั้น
ทั้งในคำให้การชาวกรุงเก่า กับ พงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา แล้ว
ชื่อและลำดับการครองราชย์ไม่ตรงกัน จึงได้ตรวจสอบรายพระนามไว้ค้นคว้า ต่อ ดังนี้
จากคำให้การชาวกรุงเก่า
นอกราชสมบัติ ในราชสมบัติ พระชนมพรรษา
1.
พระเจ้าปทุมสุริยวงศ์
16 35 51
2.
พระเจ้าจันทราชา (โอรส 1)
25 30 55
3.
พระร่วงเจา (โอรส 2)
35 40 75
4.
พระเจ้าลือ (อนุชา 3)
30 35 65
5.
พระเจ้าโคตรตะบอง
6.
พระยาแกรก
15 45 60
7.
พระยาสายน้ำผึ้ง
8.
พระสุธรรมราชา (โอรส 7)
ต่อจากนี้ว่างกษัตริย์อยู่หลายปี จึงมีกษัตริย์ครองราชย์สืบต่อไป คือ
9.
พระเจ้าพิไชยราช
10.
พระเจ้าพิไชยราช
11.
พระศรีแสน (พระศรีศิลป์) (โอรส 10)
12.
พระไชยนาท (อนุชา 12)
13.
พระสุรินราชา
14.
พระอนุทราชา (อนุชา 13)
15.
พระอินทราชา (โอรส 14)
16.
พระเจ้าอู่ทอง มีพระนามว่า พระรามาธิบดีศิริวงศ์ (โอรส 15)
ต่อนี้ว่างกษัตริย์อีกคราวหนึ่ง แล้วจึงมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์สมบัติ คือ
17.
พระบรมราเมศวร
18.
พระกระเจียรนเรศวร
19.
พระเฑียร (ราชา) คือ พระมหาจักพรรดิ ซึ่งเป็นพระเจ้าช้างเผือก 7 ช้าง
20.
พระไชยราชา (อนุชา 19)
ต่อจากนี้ ว่าง
พระมหากษัตริย์อีกหลายปีจึงถึง
21.
พระเจ้าสุรพันธ์ อินทพยัคฆ์ (พระเจ้าสุพรรณปราสาท จะหมายความว่า พระเจ้าปราสาททอง)
ซึ่งพระนคร (ปราสาท) เทวดานฤมิตนั้น มีพระโอรส 4 พระองค์ พระราชธิดา 3 พระองค์ รวม
7 พระองค์ สืบราชสมบัติต่อมา
ข้อมูลจากคำให้การกรุงเก่านี้ เมื่อตรวจสอบกับพระนามของกษัตริย์
และเรียงลำดับตามตารางรายนามพระเจ้าแผ่นดิน ที่พม่าทำขึ้นแล้ว
ไม่ตรงกันจึงเพียงข้อมูลเรียนรู้และแนวทางสืบค้นเพื่อการศึกษาเท่านั้น (อ้างอิง
ไม่ได้) (ลำดับที่ 1
15 น่าจะเป็นพระนามกษัตริย์อโยธยา และอันดับที่
16 21 เป็นกษัตริย์อยุธยา)
|