ราชวงศ์กษัตริย์แห่งอาณาจักรสยาม
ราชวงศ์กษัตริย์แห่งอาณาจักรสยาม
ชนชาติสยามนั้นมีราชวงศ์กษัตริย์ทางเหนือคือราชวงศ์เชียงแสนหรือราชวงศ์เชียงรายเป็นต้นราชวงศ์มาตั้งแต่
พ.ศ. 1600 มีกษัตริย์ครองเมืองต่อมา จนเกิดอาณาจักรสยามทางตอนใต้คือกรุงสุโขทัย
กรุงศรีอยุธยา กรุงรัตนโกสินทร์ ตามลำดับ
อาณาจักรสยาม
สมัยเมืองสุโขทัยเป็นราชธานี
(พระนามตัวเอนในวงเล็บเป็นชื่อที่ใช้เรียกมาแต่เดิม)
ราชวงศ์พระร่วง
1.
พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ (ขุนบางกลางหาว เมืองบางยาง) ครองราชย์ พ.ศ. 1792
(ไม่ปรากฏปีสิ้นราชการ)-บ้างว่า พ.ศ. 1781
2. พ่อขุนบาลเมือง
ประมาณ พ.ศ. 1800?-1820 (20ปี)บ้างว่าไม่ปรากฏปีครองเมือง-1822
3. พ่อขุนรามคำแหง
พ.ศ. 1820-1860 (40 ปี) บ้างว่า พ.ศ.1822-1841 (20 ปี)
4. ปู่ไสสงคราม
พ.ศ.1842 (ไม่ปรากฏราชกาล)
5. พญาเลอไทย พ.ศ.
1816-1897 (36 ปี) บ้างว่า พ.ศ. 2841-ไม่ปรากฏปีสิ้นราชกาล
6. พญางั่วนำถม
พ.ศ. 1882-1890 (8 ปี) ไม่ปรากฏปีครองเมือง-พ.ศ. 1890
7.
พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไทย) พ.ศ 1897-1919 (22 ปี)-บ้างว่า พ.ศ.
1890-ระหว่าง พ.ศ 1911-1917
8.
พระมหาธรรมราชาที่ 2 (พญาเลอไทย) พ.ศ. 1921-1942 (20 ปี)
บ้างว่าระหว่าง พ.ศ. 1911-1917 ถึง 1942
9.
พระมหาธรรมราชาที่ 3 (พญาไสเลอไทย) พ.ศ. 1919-1920 (1 ปี) บ้างว่า พ.ศ.
1942-1962 (21 ปี)
10.
พระมหาธรรมราชาที่ 4 (พญาปาลราช) พ.ศ. 1962-1881 (20 ปี)
หมายเหตุ
ศักราชนี้เป็นเพียงข้อมูลเริ่มต้นและยังอาศัยการสันนิษฐานอยู่
ดังนั้นศักราชบางแห่งจึงม่สามารถสรุปให้เป็นข้อมูลที่ถูกต้อง
อาณาจักรสยาม
สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ราชวงศ์เชียงราย
1.
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทองประสูติ 2ฯ5 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 676
ตรงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 1856) ตั้งราชวงค์ พ.ศ. 1893-1921 (19 ปี)
2. สมเด็จพระราเมศวร
(พระราเมศวร ครองราชย์ครั้งแรก) พ.ศ. 1921-1913 (1 ปี)
เวนราชสมบัติถวายพระบิตุลา
3. สมเด็จพระราเมศวร
(พระราเมศวร ครองราชย์ครั้งที่สอง) พ.ศ. 1931-1913 (7 ปี)
4.
สมเด็จพระรามราชาธิราช (พระรามราชา) พ.ศ. 1938-1925 (14 ปี)
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
1.
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่วสถาปนาราชวงศ์) พ.ศ. 1913-1931
(18 ปี)
2. พระเจ้าทองลัน
หรือ พระเจ้าทองจันทร์ ประสูติ 1917 พ.ศ. 1931 (7 วันถูกชิงอำนาจ)
3.
สมเด็จพระอินทราธิราชที่ 1 (เจ้านครินทร์ ประสูติ 1902) พ.ศ. 1952-1967 (15
ปี)
4.
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) พ.ศ. 1967-1991 (24 ปี)
5.
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ประสูติ พ.ศ. 1975 พ.ศ. 1991-2031 (30 ปี)
6.
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 พ.ศ. 2031-2034 (3 ปี)
สมเด็จอินทราธิราชที่ 2 พ.ศ. 1992-2034 (22 ปี)ในพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา
ไม่มีรัชกาลนี้
7.
สมเด็จพระรามาธิราชที่ 2 (พระเชษฐาธิราช) พ.ศ. 2034-2072 (38 ปี)
8.
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 หรือสมเด็จพระบรมราชาหน่อพุทธางกรู พ.ศ. 2072-2076
(5 ปี)
9.
สมเด็จพระรัฏฐาธิราช (พระรัฏฐากุมาร ประสูติ พ.ศ. 2072) พ.ศ. 2076-2077 (5
เดือนถูกชิงอำนาจ)
10.
สมเด็จพระชัยราชาธิราช (พระชัยราชา) พ.ศ. 2077-2089 (12 ปี)
11.
สมเด็จพระแก้วฟ้า (พระยอดฟ้า ประสูติ พ.ศ. 2079) พ.ศ. 2089-2091 (2 ปี
ถูกปลงพระชนม์)
แทรก ขุนวรวงศาธิราช พ.ศ. 2091 (42 วัน ถูกชิงอำนาจ) ไม่นับเป็นราชวงศ์
12.
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราช (พระมหาจักรพรรดิ-พระเจ้าช้างเผือก)
ครองราชย์ครั้งแรก พ.ศ. 2091-2097 (6 ปี)
13.
สมเด็จพระมหินทราธิราช (พระมหินทรราชา) ครองราชย์ครั้งแรก พ.ศ. 2097-2098 (1
ปี)
แทรก
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชครองราชย์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2097-2111 (2098-ตาย)
แทรก
สมเด็จมหินทราธิราช ครองราชย์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2098-2112
หมายเหตุ
ศักราชตั้งแต่ราชกาลของสมเด็จพระชัยราชาธิราชถึงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิยังมีข้อมูลที่ต้องศึกษาและตรวจสอบ
ด้วยเหตุที่ยังไม่มีข้อสรุป
เพราะมีหลักฐานบางฉบับสรุปศักราชรวมไว้ครั้งเดียวดังนี้
.
สมเด็จพระหมาจักรพรรดิราชาธิราช พ.ศ. 2091-2111
(20 ปี)
.
สมเด็จพระมหิรทราธิราช พ.ศ. 2111-2112 (1 ปี เสียกรุงศรีอยุธยา)
สำหรับศักราชตั้งแต่รัชกาลของสมเด็จพระมหาธรรมราชาเป็นต้นไป
คือศักราชที่ปรากฏต่อไปนี้ น่าจะเป็นศักราชที่ถูกต้องกว่าศักราชในพระราชำพงศวดาร
ฉบับพระราชหัตถเลขา
|