ราชวงศ์ปราสาททอง
ราชวงศ์ปราสาททอง
1.
สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง หรือ สมเด็จพระศรีสรรเพชญที่ 5
(ขุนนางในสมัยพระเจ้าทรงธรรมพระเจ้าปราสาททอง) พ.ศ. 2173-2198 (25 ปี)
บ้างว่า พ.ศ.2172-2199
2. สมเด็จเจ้าฟ้าชัย
หรือ สมเด็จพระศรีสรรเพชญที่ 6 (เจ้าฟ้าชัย) พ.ศ.2199-2199 (1
ปีถูกปลงพระชนม์)
3.
สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา หรือ สมเด็จพระศรีสรรเพชญที่ 7 (พระศรีสุธรรมราชา
พระอนุชาของพระเจ้าปราสาททอง) พ.ศ. 2199 (3 เดือนถูกปลงพระชนม์)
4.
สมเด็จพระนารายณ์ราชาธิราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พระนารายณ์ ประสูติ
2175) พ.ศ. 2199-2231(32 ปี)
ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
1. สมเด็จพระเพทราชา
หรือ สมเด็จพระมหาบุรุษ (ขุนนางในสมัยพระนารายณ์ พระเพทราชา ประสูติ พ.ศ.
2176) พ.ศ. 2231-2246 (15 ปี)
2.
สมเด็จพระเจ้าเสือ หรือ สมเด็จพระศรีสรรเพชญที่ 8 (พระเจ้าเสือ) พ.ศ.
2246-2251 (6 ปี)
3.
สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ หรือ สมเด็จพระศรีสรรเพชญที่ 9
(เจ้าฟ้าพร-พระเจ้าท้ายสระ ประสูติ 2224) พ.ศ. 2251-2275 (25 ปี)
4.
สมเด็จพระเจ้าบรมโกษฐ์ หรือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (เจ้าฟ้าเพชร-
พระเจ้าบรมโกษฐ์ ประสูติ 2224) พ.ศ. 2275-2301 (26 ปี)
5.
สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร หรือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (เจ้าฟ้าอุทุมพร
และขุนหลวงหาวัด) พ.ศ. 2301 (2 เดือน เวนราชสมบัติพระเชษฐา)
6.
สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์
หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (เจ้าฟ้าเอกทัศน์( พ.ศ. 2301-2310 (9 ปี)
ปลายรัชกาลพระยาตาก (สิน) ได้รับตำแหน่งพระยาวชิรปราการ
ครองเมืองกำแพงเพชรพอดีเกิดสงครามจึงป้องกันพระนคร จึงไม่ได้กลับไป
เมื่อเห็นว่าป้องกันพระนครไม่ได้แล้วจึงตัดสินใจนำกำลังจำนวนหนึ่งออกไปตั้งมั่นที่จันทบูรณ์และใช้เวลา
8 เดือนทำการกู้อิสรภาพสำเร็จ และได้ย้ายราชธานีไปอยู่เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร
ที่บริเวณบางกอก แทนกรุงศรีอยุธยาที่๔กทำลายย่อยยับ
ดังนั้น กรุงธนบุรี จึงเป็นราชธานี ของอาณาจักรสยามที่สืบต่อจากกรุงศรีอยุธยา
|