ประเทศบูรไน บูรไนเป็นอีกประเทศที่น่าท่องเที่ยวในเอเซียใต้ บรูไนประเทศที่ร่ำรวยอีกประเทศหนึ่ง เนื่องจากเป็นประเทศที่มีน้ำมันเป็นจำนวนมาก จึงทำให้เศรษฐกิจของประเทศเจริญก้าวหน้ามากกว่าประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเดียวกัน
[aec2 cid=”665″ h=”330px”]
บรูไนมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจมากมาย ดังต่อไปนี้
เมืองบินบันดาร์ เสรี เบกาวัน | ชมน้ำพุเต้นระบำ อันงดงาม ที่มีความสูงถึง 18 เมตร พร้อมกับอนุสาวรีย์แก้วเจียระไนเพชรเม็ดใหญ่ที่สุดในโลก | เกาะลาบวน | สวนสันติภาพ ที่สร้างขึ้นเพื่อ ให้เห็นถึงความสันติ มิควรมีสงคราม , สุสานทหารสัมพันธมิตร ที่ทุกปีจะมีงานรำลึก , พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ การจัดแสดงได้อย่างเหมาะสม |
สวนนกหายากของ เกาะบอร์เนียว ในกรงขนาดใหญ่ ที่ให้อิสระแก่เหล่าสัตว์ต่างๆ | กัมปงไอเยอร์ หมู่บ้านกลางน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก ชมศิลปะการสร้างบ้านเรือนนับพันบริเวณปากแม่น้ำบรูไน และการคมนาคมอันแปลกตา ชาวยุโรปใรยุคแรกที่เข้ามาที่บรูไน เรียกขานหมู่บ้านกลางน้ำนี้ว่า เวนิซแห่งตะวันออกมีบ้านแบบพื้นเมืองปลูกสร้างไว้มากมาย หมู่บ้านกลางน้ำนี้ก็มีสาธารณูปโภคครบครัน ทั้งโรงเรียน สถานีอนามัย สถานีตำรวจ ร้านค้า และอีกจิปาถะที่ทำให้กัมปงไอเยอร์มี่ เสน่ห์และน่าพิสมัยต่อสายตาของผู้มาพบเห็น | ชมบรูไนมิวเซียม ภายในแยกส่วนจัดแสดงเป็น 5 ส่วนที่โดดเด่นที่สุดคือ Islamic Arts Gallery ที่รวบรวมของสะสมโบราณล้ำค่า ขององค์สุลต่านจากประเทศมุสลิมทั่วโลกมาแสดงไว้มากมาย , คัมภีร์อัลกุระอ่านขนาดเล็กที่สุดในโลก , หุ่นจำลองวัฒนธรรมประเพณ ีของชาวบรูไนตั้งแต่แรกเกิด การแต่งงานฯอีกห้องที่พลาดไม่ได้คือห้องที่รวบรวมประวัติการค้นพบน้ำมัน และ ก๊าซธรรมชาติจำนวนมหาศาลที่พลิกโฉมบรูไน ให้กลายเป็นหนึ่งในประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในโลก ชมแบบ จำลองขบวนการผลิต แท่นขุดเจาะน้ำมันในยุคแรกๆ | มัสยิคทองคำ Jame Ar’ Hassanil Bolkiah Mosque มัสยิคที่สง่างาม ศักดิ์สิทธิ์ ใช้งบประมาณในการสร้างมหาศาล วัสดุการก่อสร้าง ของตกแต่งจากทุกมุมโลก แชนเด อเลียร์ทองคำแท้จากออสเตรียขนาดใหญ่ที่สุดในโลก หินอ่อนจากอิตาลี แกรนิตจากเซี่ยงไฮ้ กระจกจากอังกฤษ พรมชั้นหนึ่งจากเบลเยี่ยม ใช้เวลาถึง 7 ปีในการสร้าง |
พระราชวังหลังคาทองคำ อิสตาน่า นูรูล อิมาน ที่ประทับขององค์สุลต่างและพระราชวงค์ อีกทั้งยังเป็น ทำเนียบรัฐบาล มีห้องต่างๆ ถึง 1,788 ห้อง โรงจอดรถมากกว่า 350 คัน พอได้เวลาอันสมควร | พิพิธภัณฑ์โรยัลเรกกาเลีย ที่ซึ่งรวบรวมข้าวของเครื่องใช้ขององค์สุลต่านองค์ปัจจุบัน อาทิ เครื่องทรงทองคำ ณ วันที่ขึ้นครองราชย์ มงกุฏทองคำ เครื่องราชย์ต่างๆ เครื่อง บรรณาการจากผู้นำประเทศต่างๆ | มัสยิคโอมาร์ อาลี ไซฟูดดิน มัสยิคหลังนี้ออกแบบโดย สุลต่านองค์ที่ 28 พระบิดาของสุลต่านองค์ปัจจุบัน มัสยิคนี้มีความงดงามจนได้ชื่อว่า มินิทัชมาฮาล |
ที่มา www.travelyouthailand.com
[aec2 cid=”664″ h=”330px”]
ธงชาติ |
ตราแผ่นดิน |
แผนที่ |
ชื่อทางการ : เนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam แปลวา ดินแดนแหงความสงบสุข)
ที่ตั้ง : ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอรเนียว (ละติจูดที่ 5 เหนือเสนศูนยสูตร)
แบงเปนสี่เขต คือ เขต Brunei-Muara เขต Belait เขต Temburong และเขต Tutong
พื้นที่ : 5,765 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่รอยละ 70 เปนปาไมเขตรอน
เมืองหลวง : บันดาร เสรี เบกาวัน (Bandar Seri Begawan)
ประชากร : 370,00 คน (2548) ประกอบดวย มาเลย (66%) บรูไน ดารุสซาลาม (11%) และอื่น ๆ (23%)
มีอัตราการเพิ่มของประชากรปละ 2 %
ภูมิอากาศ : อากาศโดยทั่วไปคอนขางรอนชื้น มีปริมาณฝนตกคอนขางมาก อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษามาเลย (Malay หรือ Bahasa Melayu) เปนภาษาราชการ รองลงมาเปนภาษาอังกฤษและภาษาบรูไน ดารุสซาลาม
ศาสนา : ศาสนาประจำชาติ คือ ศาสนาอิสลาม (67%)
ศาสนาอื่น ๆ ไดแก ศาสนาพุทธ (13%) ศาสนาคริสต (10%) และฮินดู
สกุลเงิน : ดอลลารบรูไน (Brunei Dollar : BND)
อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 22.9 บาท/ 1 ดอลลารบรูไน (ขาย) 23.5 บาท/ 1 ดอลลารบรูไน (มกราคม 2552)
(คาเงินบรูไนมีความมั่นคงและใชอัตราแลกเปลี่ยนเดียวกับเงินสิงคโปร และสามารถใชเงินสิงคโปรในบรูไนไดทั่วไป)
ระบอบการปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาละห (His Majesty Sultan Haji Hassanal Bolkiah Mu’izzaddin Waddaulah) ทรงเปนองคพระประมุขของประเทศตั้งแตวันที่ 5 ตุลาคม 2510
* รัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 1 มกราคม 2527 กำหนดใหสมเด็จพระราชาธิบดีทรงเปนอธิปตย คือ เปนทั้งประมุขและนายกรัฐมนตรี
* สมเด็จพระราชาธิบดีองคปจจุบันยังทรงดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังดวย
* ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีจะตองเปนชาวบรูไนฯ เชื้อสายมาเลยโดยกำเนิด และจะตองนับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่
ดาวโหลดข้อมูลประเทศบรูไนอย่างละเอียดคลิกครับ
ที่มา : www1.mod.go.th/admm/aseancountry_thai.pdf