ท่องเที่ยว
||
เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว
||
ดูดวงตำราไทย
||
อ่านบทละคร
||
เกมส์คลายเครียด
||
วิทยุออนไลน์
||
ดูทีวี
||
ท็อปเชียงใหม่
||
รถตู้เชียงใหม่
Truehits.net
dooasia : ดูเอเซีย
รวมเว็บ
บอร์ด
เรื่องน่ารู้ของสยาม
สิ่งน่าสนใจ
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
เที่ยวหลากสไตล์
มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
เส้นทางความสุข
ขับรถเที่ยวตลอน
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
อุทยานแห่งชาติในไทย
วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
ไก่ชนไทย
พระเครื่องเมืองไทย
เที่ยวภาคเหนือ
กำแพงเพชร
:
เชียงราย
:
เชียงใหม่
:
ตาก
:
นครสวรรค์
:
น่าน
:
พะเยา
:
พิจิตร
:
พิษณุโลก
:
เพชรบูรณ์
:
แพร่
:
แม่ฮ่องสอน
:
ลำปาง
:
ลำพูน
:
สุโขทัย
:
อุตรดิตถ์
:
อุทัยธานี
เที่ยวภาคอีสาน
กาฬสินธุ์
:
ขอนแก่น
:
ชัยภูมิ
:
นครพนม
:
นครราชสีมา(โคราช)
:
บุรีรัมย์
:
มหาสารคาม
:
มุกดาหาร
:
ยโสธร
:
ร้อยเอ็ด
:
เลย
:
ศรีสะเกษ
:
สกลนคร
:
สุรินทร์
:
หนองคาย
:
หนองบัวลำภู
:
อำนาจเจริญ
:
อุดรธานี
:
อุบลราชธานี
:
บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
เที่ยวภาคกลาง
กรุงเทพฯ
:
กาญจนบุรี
:
ฉะเชิงเทรา
:
ชัยนาท
:
นครนายก
:
นครปฐม
:
นนทบุรี
:
ปทุมธานี
:
ประจวบคีรีขันธ์
:
ปราจีนบุรี
:
พระนครศรีอยุธยา
:
เพชรบุรี
:
ราชบุรี
:
ลพบุรี
:
สมุทรปราการ
:
สมุทรสาคร
:
สมุทรสงคราม
:
สระแก้ว
:
สระบุรี
:
สิงห์บุรี
:
สุพรรณบุรี
:
อ่างทอง
เที่ยวภาคตะวันออก
จันทบุรี
:
ชลบุรี
:
ตราด
:
ระยอง
เที่ยวภาคใต้
กระบี่
:
ชุมพร
:
ตรัง
:
นครศรีธรรมราช
:
นราธิวาส
:
ปัตตานี
:
พัทลุง
:
พังงา
:
ภูเก็ต
:
ยะลา
:
ระนอง
:
สงขลา
:
สตูล
:
สุราษฎร์ธานี
http://www.dooasia.com
>
กิจกรรมท่องเที่ยว
>
ดูดาว
>
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์เกิดขึ้นบนฟ้า อาจแบ่งได้เป็น 2 อย่างตามระยะที่เห็น คือ ปรากฏการณ์ในระบบ สุริยะหรือปรากฏการณ์ที่อยู่ใกล้ และปรากฏการณ์นอกระบบสุริยะ หรือปรากฏการณ์ที่อยู่ไกล
ระบบสุริยะเป็นบริเวณแคบ ๆ หรือเป็นจุดหนึ่งดาราจักรของเรา โดยอยู่ที่แขนของดาราจักร และอยู่ห่างจุด ศูนย์กลางของดาราจักรเป็นระยะทาง 30,000 ปีแสง (1 ปีแสง คือระยะทางที่แสงเดินทางในอวกาศเป็นเวลา 1 ปี คิดเป็นระยะทางประมาณ 10 ล้านล้านกิโลเมตร) ซึ่งหากมองทางช้างเผือกที่เป็นทางยาก จะเห็นว่ามีความฝ้าไม่ เท่ากัน ทางกลุ่มดาวคนยิงธนูมีความฝ้ามากกว่าทางกลุ่มดาวแมงป่อง เพราะเรากำลังมองไปทางศูนย์กลางของ ดาราจักร
สำหรับปรากฏการณ์ใกล้ ๆ ในระบบสุริยะ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เกิดจากดวงจันทร์ เช่น สุริยุปราคาที่ดวง จันทร์บังดวงอาทิตย์ จันทรุปราคาซึ่งดวงจันทร์เข้าไปอยู่ในเงาของโลก ดวงจันทร์บังดาวเคราะห์ ดวงจันทร์บัง ดาวฤกษ์ ปรากฏการณ์ดาวตก หรือผีพุ่งใต้และฝนดาวตก เกิดในบรรยากาศโลกทุกวัน แต่ฝนดาวตกเกิดจากดาว หางที่มีทางโคจรตัดกับทางโคจรของโลก จึงเกิดตามจังหวะที่โลกผ่านทางโคจรของดาวหางนั้น ๆ เช่น โลกผ่านทางโคจรของดาวหางเทมเปล-ทัตเทิลในวันที่ 17 พฤศจิกายนของทุกปี ซึ่งทำให้เกิดฝนดาวตก ซึ่งดูเหมือนว่าจะมาจากทางกลุ่มดาวสิงโต จึงเรียกฝนดาวตกในวันที่ 17 พฤศจิกายนว่า "ฝนดาวตกกลุ่ม ดาวสิงโต"
ปรากฏการณ์สุริยุปราคา ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์อย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นนาน ๆ ครั้ง และเป็น ปรากฏการณ์ที่สวยงาม ยากแก่ผู้ที่ได้เห็นจะลืมเลือน ก็คือ สุริยุปราคาเต็มดวง (Total Solar Eclipse) สุริยุปราคาเป็นปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่โลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน และอยู่บนระนาบเดียวกัน โดยดวงจันทร์อยู่กลางระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นช่วงเดือนมืด (New Moon) นั่นเอง สำหรับสุริยุปราคาเต็มดวงนั้น ขนาดปรากฏของดวงจันทร์ใหญ่กว่าขนาดปรากฏ ของดวงอาทิตย์เมื่อสังเกตจากโลก คนบนโลกจึงเป็นดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์จนมืดมิดทั้งดวงได้
สำหรับผู้ที่สนใจที่จะสังเกตการณ์สุริยุปราคาเต็มดวงแล้ว ควรเดินทางไปอยู่บริเวณที่เป็นตำแหน่งกึ่งกลาง ของแนวคราสเต็มดวงตามที่มีนักดาราศาสตร์ได้คำนวนเอาไว้
เมื่อสังเกตบนตัวดวงอาทิตย์ ก่อนที่ดวงจันทร์จะบังดวงอาทิตย์หมดดวงจะเห็นแสดงอาทิตย์ลอดผ่านหุบเขา ใหญ่น้อยบนตัวดวงจันทร์ เกิดปรากฏการณ์ "ลูกปัดเบลลี่ (Baily's Bead)" และปรากฏการณ์ "แหวนเพชร (Diamond Ring Effect)" เห็นเป็นแสงประกายแวววาวคล้ายเพชรพลอย มีความสวยงามมาก และสิ่งที่น่า สนใจที่สุดในปรากฏการณ์สุริยุปราคาเต็มดวง เห็นจะได้แก่การปรากฏบรรยากาศชั้นโคโรน่า ซึ่งเป็นบรรยากาศชั้น นอกสุดของดวงอาทิตย์ แผ่รัศมีออกมาในช่วงที่ตัวดวงอาทิตย์ที่มีแสงแรงกล้าถูกดวงจันทร์บดบังจนมืดมิดหมด ทั้งดวง แสงสว่างของโรโรน่าที่แผ่ออกมาอย่างสวยงามนี้ จะทำให้ผู้ที่ได้พบเห็นมีความตื่นตาตื่นใจ
การเตรียมตัวสำหรับผู้ที่มีความสนใจจะดูสุริยุปราคา เริ่มจากสอบถามถึงสถานที่ที่จะสามารถเห็นได้ชัดเจน และผู้ที่สนใจเรื่องดาราศาสตร์มากพอสมควรอาจต้องเตรียมกล้องดูดาว กล้องถ่ายภาพ ขาตั้งกล้อง และที่ลืมไม่ได้ เลยก็คือ แผ่นกรองแสงอาทิตย์ ไม่ว่าจะใช้ดูหรือใส่เวลาถ่ายภาพก็ตาม ถ้าจะใช้ดูสุริยุปราคา อาจใช้ "ฟิล์มขาว-ดำ" ที่ยังไม่ได้ถ่ายภาพเอามาให้ถูกแสงอย่างเต็มที่แล้วเอาไปล้าง จะได้แผ่นฟิล์มมืด ๆ นำไปส่องดูสุริยุปราคาได้ การดู สุริยุปราคาด้วยตาเปล่าจะเป็นอันตรายต่อตามาก อาจถึงขั้นพิการหรือตาบอดได้ ดั้งนั้นทุกครั้งที่มองดูดวงอาทิตย์ จะต้องมองผ่านแผ่นกรองแสงเท่านั้น ยกเว้นตอนช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ถูกดวงจันทร์บังหมดทั้งดวงแล้วเท่านั้น จึง จะสามารถดูโดยไม่ต้องใช้แผ่นกรองแสงได้ สำหรับผู้ที่ต้องการถ่ายภาพ อาจใช้แผ่นกรองแสงพิเศษที่ใช้ในการ ถ่ายภาพดวงอาทิตย์โดยเฉพาะ ซึ่งอาจต้องปรึกษาร้านขายกล้องดูดาวหรือร้านถ่ายรูปว่า แผ่นกรองแสงชนิดใดที่ สามารถใช้ถ่ายภาพสุริยุปราคาได้ โดยไม่เป็นอันตรายต่อกล้องถ่ายรูปและสายตา
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย
www.dooasia.com
เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com
ใช้
สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย
.