การอนุรักษ์เต่าทะเลในประเทศไทย
เต่าทะเล
ทรัพยากรสัตว์น้ำที่มีคูณค่าและประโยชน์มากมายหลายด้านทั้งการอุปโภค
บริโภค
ส่วนต่างๆนำมาใช้ประโยชน์ได้มากมาย
เช่นทำเครื่องประดับ
เครื่องหนัง
และด้วยเหตุนี้เองทำให้เต่าทะเลถูกจับนำมาใช้ประโยชน์
จนทำให้เต่าทะเลลดลง
และอาจจะสูญพันธุ์ในไม่ช้า
ดังนั้น
จึงต้องมีการอนุรักษ์ขึ้น
1.
ฟาร์มเต่าทะเล
การทำฟาร์มเต่าทะเลได้มีการดำเนินงานมากว่า
70 ปีแล้ว
แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร
พ.ศ.2514
ได้มีการทดองเลี้ยงเต่าในห้องทดลอง
และได้มีการริเริ่มจัดตั้งฟาร์มเต่าทะเลเพื่อการอนุรักษ์ในปี
2522 โดยสมเด็จพระนางเจ้าๆ
พระบรมราชินีนาถ ณ
สถานีอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล
เกาะมันใน จ. ระยอง
2.
สภาพการอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเลในประเทศไทย
ในประเทศไทย
ได้มีการเก็บไข่เต่าทะเลเพื่อการบริโภคมาเป็นเวลานาน
ในส่วนของการทำประมงก็มีข้อห้าม
โดยประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตามความในมาตรา
32(7)แห่งพระราชบัญญัติการประมง
พ.ศ.2490 วันที่14 เมษายน พ.ศ.2490คุ้มครองเอาไว้
กล่าวคือ ห้ามจับ ดัก ล่อ
ทำอันตราย
และฆ่าเต่าทะเลทุกชนิดรวมทั้งไข่ของเต่าทะเล
ผู้ใดฝ่าฝืนต้องจำคุกไม่เกิน
1ปี หรือปรับไม่เกิน 1,000
บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
และประเทศไทยก้ยังลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศของสัตว์ป่าและพืชป่าที่กลังจะสูญพันธุ์
(CITES)
3.
การควบคุมการใช้ประโยชน์
การใช้ประโยชน์จากเต่าทะเล
แบ่งออกได้ 3 ประเภท
3.1
การค้า โดยการหามตรการหยุดยั้งการค้าจากผลิตภัณฑ์ที่มาจากเต่าทะเล
3.2
ควรนส่งเสริมให้ชาวทะเลทำประมงที่ไม่ส่งผลกระทบต่อเต่าทะเล
และให้ความรู้ควบคู่กันไป
3.3
การทำฟาร์เต่าทะเล
ทั้งทางภาครัฐและเอกชน
4.
เต่าทะเลที่ติดอวนขณะทำการประมง
ซึ่งเป็นปัญหาที่สำคัญต่อการลดลงของจำนวนเต่าทะเล
จะต้องจัดการในเรื่องนี้คือ
4.1
จัดตั้งเขตห้ามทำการประมง
4.2
พัฒนาเครื่องมือและเทคนิคการทำการประมง
เพื่อลดการติดมาของเต่าทะเลในการทำประมง
4.3
ควรจัดการพิจารณาปัญหา
และจัดการระบียบและข้อบังคับขึ้น
4.4
ควรยุติความพยายามใดที่จะอาศัยการทำการประมงเพื่อจับเต่าทะเลในธรรมชาติ
5.
การวิจัย
ในเรื่องของการวิจัยจำเป็นที่จะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วนในเรื่องต่างๆ
ดังนี้
5.1
การสำรวจและประเมิณขนาดจำนวนของเต่าทะเลทุกชนิด
5.2
ความรู้พื้นฐานด้านชีววิทยา
และชีววิทยาการแพร่พันธุ์ของเต่าทะเลทุกชนิด
5.3
เทคนิคในการจัดการ
มีสิ่งที่สำคัญคือ
การทดสอบมาตรการที่ได้ผลในการเพิ่มจำนวน
6. ยุทธวิธีในการอนุรักษ์เต่าทะเลของโลก
David
Ehrenfeld
ได้เสนอวิธีการอนุรักษ์เต่าทะเลของโลก
พร้อมทั้งแผนการปฏิบัติการ
และโครงการอนุรักษ์เต่าทะเลของโลก
ในการประชุมนานาชาติเกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่าทะเล
ณ กรุงวอชิงตัน ระหว่าง
26-30 พฤศจิกายน 2522 ดังนี้
นโยบายอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล
1.
การป้องกันถิ่นที่อยู่อาศัย
2.
การจัดการทรัพยากรเต่าทะเล
-การให้การศึกษาเกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่าทะเล
กระทำโดยเผยแพร่มาตรการอนุรักษ์ที่ได้ผลให้แต่ละประเทศทราบ
เพื่อที่ในแต่ละประเทศจะได้นำไปใช้เป็นนโยบายในการปฏิบัติ
-
ควาวมร่วมมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างองค์กรทั้งในประเทศและต่างประเทศ
-
การใช้ไมโครชิพในการติดตามเต่าทะเล
-
เครื่องมิอแยกเต่าทะเลในการทำประมงทะเล
เพื่อแยกเต่าทะเลที่จะติดมาในการทำประมง
|