ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี|| ท็อปเชียงใหม่ || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
 
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี

www.dooasia.com > จังหวัดอ่างทอง >อนุสาวรีย์นายดอกนายทองแก้ว/Nai Dok Nai Thongkaeo Monument 

อนุสาวรีย์นายดอกนายทองแก้ว/ Nai Dok Nai Thongkaeo Monument

 

อนุสาวรีย์นายดอกนายทองแก้ว
อ. วิเศษชัยชาญ จ. อ่างทอง


อนุสาวรีย์นายดอกนายทองแก้ว ประดิษฐานอยู่ที่หน้าโรงเรียนวิเศษชัยชาญ หมู่ที่ 2 ตำบลไผ่จำศีล ระหว่างกิโลเมตรที่ 26-27 ตามเส้นทางสายศรีประจันต์-วิเศษชัยชาญ เป็นอนุสรณ์สถานที่ชาววิเศษชัยชาญและชาวอ่างทองร่วมกันสร้าง เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีของวีรบุรุษแห่งบ้านโพธิ์ทะเล ชาววิเศษชัยชาญ ปู่ดอกและปู่ทองแก้ว ทั้งสองท่านยอมสละชีวิตอย่างกล้าหาญเพื่อปกป้องแผ่นดินไทยในการสู้รบกับพม่าที่ค่ายบางระจันก่อนที่กรุงศรีอยุธยาจะแตกในปีพ.ศ. 2310 อนุสาวรีย์แห่งนี้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฏราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาทรงเปิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2520




Loading...

 
รูปภาพถ่ายสถานที่ท่องเที่ยวอนุสาวรีย์นายดอกนายทองแก้ว

 
อ่างทอง/Information of ANGTHONG

  Nai Dok Nai Thongkaeo Monument อนุสาวรีย์นายดอกนายทองแก้ว
Located in front of Wisetchaichan School at Mu 2 in Tambon Phaichamsin between Kilometer 26 and 27 on
Siprachan-Wiset Chai Chan Road (No. 3195). This monument was constructed by Wisetchaichan together
with Angthong people to commemorate the two heroes of Ban Photha-le who sacrificed their lives in the
battle of Ban Khaibangrachan in 1766. The monument is made of metal, casted in human size standing
figures holding and carrying swords. At the base of the monument is a stone plate inscribed with
Sayammanusati, a patriotic poem written by King Rama 6 H.R.H. Crown Prince Wachiralongkorn on behalf
of His Majesty the King presided over the opening ceremony of this monument on 25 March 1977.

 
เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ

เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ

ชื่อ / Email
ข้อความ
  

อ่างทอง
อำเภอป่าโมก

อำเภอวิเศษชัยชาญ


วัดเขียน

Wat Khian
(อ่างทอง)


วัดอ้อย

Wat Oi
(อ่างทอง)


วัดม่วง

Wat Muang
(อ่างทอง)


วัดหลวง

Wat Luang
(อ่างทอง)

อำเภอเมือง


บึงสำเภาลอย

(อ่างทอง)

อำเภอแสวงหา


วัดยาง

Wat Yang
(อ่างทอง)

อำเภอโพธิ์ทอง

อำเภอไชโย

แผนที่จังหวัดอ่างทอง/map of ANGTHONG

การเดินทาง
รถโดยสารประจำทาง
บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการรถโดยสารประจำทางระหว่างกรุงเทพฯ-อ่างทอง ทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ทุกวัน สามารถขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งสายเหนือ ถนนกำแพงเพชร 2 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 0 2537 8055, 0 2936 2852-66, 0 2936 3603 เว็บไซต์ www.transport.co.th 

รถยนต์ 
จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางได้หลายเส้นทาง คือ
เส้นทางที่ 1 ใช้เส้นทางสายพหลโยธิน ทางหลวงหมายเลข 32 จากกรุงเทพฯ แยกเข้าเส้นทางสายเอเชีย ผ่านอำเภอบางปะอิน-พระนครศรีอยุธยา-อำเภอบางปะหัน-อ่างทอง รวมระยะทาง 105 กิโลเมตร
เส้นทางที่ 2 ใช้เส้นทางตัดใหม่ ข้ามสะพานพระปิ่นเกล้า - ตลิ่งชัน เข้าเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ผ่านจังหวัดนนทบุรี-ปทุมธานี-พระนครศรีอยุธยา-สุพรรณบุรี-อ่างทอง รวมระยะทางประมาณ 150 กิโลเมตร
เส้นทางที่ 3 ใช้เส้นทางกรุงเทพฯ-ปทุมธานี ผ่านปากเกร็ด เข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3111 ผ่านอำเภอบางไทร-อำเภอเสนา-พระนครศรีอยุธยา จากนั้นใช้เส้นทางหมายเลข 3263 และต่อเข้าทางหลวงหมายเลข 309 เข้าอำเภอป่าโมก-อ่างทอง รวมระยะทาง 140 กิโลเมตร
หรือใช้ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด) สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 1543

อ่างทอง/Information of ANGTHONG

 

General Information

Ang Thong is a small province on the bank of the Chao Phraya River. The former settlement is at Wiset Chai Chan on the bank of the Noi River. It was an essential frontier outpost of Ayutthaya when fighting with the Burmese. The majority of the people was later moved to a new site on the left bank of the Chao Phraya River during the Thon Buri period.

Ang Thong is located 108 kilometres north of Bangkok. It occupies an area of 968 square kilometres and is administratively divided into seven districts (Amphoes): Mueang Ang Thong, Chaiyo, Pa Mok, Pho Thong, Sawaeng Ha, Wiset Chai Chan and Samko.

How to get there
Car
All provinces and major districts in the Central Region are linked by highways while the distant districts and villages can be accessible by rural roads.

Bus
Bus transportation services are available at two main stations in Bangkok. From the bus terminal on Kamphaeng Phet II Road (Tel. 0 2936 0649,0 2936 1972), there are both air-conditioned and non air-conditioned buses leaving for Chai Nat, Nakhon Nayok, Prachin Buri, Lop Buri, Saraburi, Sing Buri, Suphan Buri, Ang Thong, Ayutthaya, Bang Pa-in, Bang Sai, Aranyaprathet, Chachoengsao, and Samut Songkhram. The Southern Bus Terminal (Tel. 0 2435-1199, 0 2434 5557-8) on Boromarajajonani Road operates daily buses to Kanchanaburi, Cha-am, Damnoen Saduak, Phetchaburi, Ratchaburi, Prachuap Khiri Khan, Bang Saphan, Nakhon Pathom, Suphan Buri, Samphran, Samut Songkhram, and Samut Sakhon.

On arrival in each city, the easiest way to travel around is by local transport like tricycle (called “Sam Lo” by Thais) or motor tricycle. “Song Thaeo” or a van with two rows of benches at the back serves as transport for travelling to the outside of the town. However, a vehicle should be rented from Bangkok or a major tourist town in case travellers need more convenience and would like to explore more attractions in the rural areas.

Train
The Bangkok Railway Station (Hua Lamphong) is the major terminal where daily trains leave for Chachoengsao, Bang Pa-in, Ayutthaya, Saraburi, Lop Buri, Nakhon Pathom, Suphan Buri, Ratchaburi, Phetchaburi, Hua Hin, and Prachuap Khiri Khan. To get to Nakhon Pathom and Kanchanaburi, one can take a train at the Thon Buri or Bangkok Noi Railway Station. Samut Sakhon and Samut Songkhram can be also reached by train from the Wongwian Yai Station. Schedules can be obtained at the Information Unit, Tel. 0 2223 7010, 0 2223 7020.

Boat
Travelling by boat is quite popular in the riverside cities or towns including Bangkok, Nonthaburi, Ayutthaya, Samut Songkhram, Nakhon Pathom, and Kanchanaburi. In those provinces, river excursions are operated by local tour operators. Boats for rent are also available at major piers. The price should be established before beginning the trip.

Between Bangkok and Nonthaburi, regular boats run along the Chao Phraya River with frequent stops to pick up and drop their passengers. The boats are usually crowded during the rush hours of a working day.

Festivals
Boat Races
Boat Races The major annual regatta takes place in front of Wat Chaiyo Worawihan on the Chao Phraya River in October together with the Luang Pho To Worship Festival.

During October, boat races are also held at other riverside temples including Wat Pa Mok by the Chao Phraya River and Wat Pho Kriap by the Noi River in Amphoe Pho Thong. Famous boats from all over the country join the races.

General Information

Ang Thong is a small province on the bank of the Chao Phraya River. The former settlement is at Wiset Chai Chan on the bank of the Noi River. It was an essential frontier outpost of Ayutthaya when fighting with the Burmese. The majority of the people was later moved to a new site on the left bank of the Chao Phraya River during the Thon Buri period.

Ang Thong is located 108 kilometres north of Bangkok. It occupies an area of 968 square kilometres and is administratively divided into seven districts (Amphoes): Mueang Ang Thong, Chaiyo, Pa Mok, Pho Thong, Sawaeng Ha, Wiset Chai Chan and Samko.

How to get there
Car
All provinces and major districts in the Central Region are linked by highways while the distant districts and villages can be accessible by rural roads.

Bus
Bus transportation services are available at two main stations in Bangkok. From the bus terminal on Kamphaeng Phet II Road (Tel. 0 2936 0649,0 2936 1972), there are both air-conditioned and non air-conditioned buses leaving for Chai Nat, Nakhon Nayok, Prachin Buri, Lop Buri, Saraburi, Sing Buri, Suphan Buri, Ang Thong, Ayutthaya, Bang Pa-in, Bang Sai, Aranyaprathet, Chachoengsao, and Samut Songkhram. The Southern Bus Terminal (Tel. 0 2435-1199, 0 2434 5557-8) on Boromarajajonani Road operates daily buses to Kanchanaburi, Cha-am, Damnoen Saduak, Phetchaburi, Ratchaburi, Prachuap Khiri Khan, Bang Saphan, Nakhon Pathom, Suphan Buri, Samphran, Samut Songkhram, and Samut Sakhon.

On arrival in each city, the easiest way to travel around is by local transport like tricycle (called “Sam Lo” by Thais) or motor tricycle. “Song Thaeo” or a van with two rows of benches at the back serves as transport for travelling to the outside of the town. However, a vehicle should be rented from Bangkok or a major tourist town in case travellers need more convenience and would like to explore more attractions in the rural areas.

Train
The Bangkok Railway Station (Hua Lamphong) is the major terminal where daily trains leave for Chachoengsao, Bang Pa-in, Ayutthaya, Saraburi, Lop Buri, Nakhon Pathom, Suphan Buri, Ratchaburi, Phetchaburi, Hua Hin, and Prachuap Khiri Khan. To get to Nakhon Pathom and Kanchanaburi, one can take a train at the Thon Buri or Bangkok Noi Railway Station. Samut Sakhon and Samut Songkhram can be also reached by train from the Wongwian Yai Station. Schedules can be obtained at the Information Unit, Tel. 0 2223 7010, 0 2223 7020.

Boat
Travelling by boat is quite popular in the riverside cities or towns including Bangkok, Nonthaburi, Ayutthaya, Samut Songkhram, Nakhon Pathom, and Kanchanaburi. In those provinces, river excursions are operated by local tour operators. Boats for rent are also available at major piers. The price should be established before beginning the trip.

Between Bangkok and Nonthaburi, regular boats run along the Chao Phraya River with frequent stops to pick up and drop their passengers. The boats are usually crowded during the rush hours of a working day.

Festivals
Boat Races
Boat Races The major annual regatta takes place in front of Wat Chaiyo Worawihan on the Chao Phraya River in October together with the Luang Pho To Worship Festival.

During October, boat races are also held at other riverside temples including Wat Pa Mok by the Chao Phraya River and Wat Pho Kriap by the Noi River in Amphoe Pho Thong. Famous boats from all over the country join the races.



 
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์