www.dooasia.com > จังหวัดชัยนาท >วัดพระบรมธาตุวรวิหาร/Wat Phra Borammathat Worawihan วัดพระบรมธาตุวรวิหาร/ Wat Phra Borammathat Worawihan วัดพระบรมธาตุชัยนาท เป็นพระอารามหลวงชั้นโท เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ภายในวัดนี้มีเจดีย์พระบรมธาตุรูปแบบสถาปัตยกรรมอู่ทองบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เป็นที่เคารพนับถือของประชาชนในจังหวัดชัยนาท และจังหวัดใกล้เคียง มีงานเทศกาลสมโภชพระบรมธาตุในวั นเพ็ญเดือน 6 เป็นประจำทุกปี สิ่งสำคัญในวัดพระบรมธาตุคือ เจดีย์พระบรมธาตุ องค์พระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ องค์เจดีย์เป็นทรงกลมตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งต่อมุมขึ้นไปรองรับ ใต้องค์ระฆังมีซุ้มจระนำเล็กๆทั้ง 4 ด้าน ภายในประดิษฐาน พระปรางค์นาคปรกทั้ง 4 ทิศ หน้าบันของซุ้มจระนำ มีสองชั้นซ้อนกัน มีปูนปั้นประดับเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิราบเหนือฐานบัวหงาย 4 กลับอยู่ตรงกลาง หน้าตักกว้าง 23 เซนติเมตร สูงจากฐานจรดพระเศียร 31 เซนติเมตร ทรงจีวรแบบห่มตอง หรือห่มเฉียง ผ้าสังฆาฏิพาดลงมาเกือบถึงฝ่าพระบาท ลักษณะของพระเศียรและพระพ ักต์มีเค้าของศิลปะลพบุหรือหรืออู่ทองรุ่นแรก ระหว่างซุ่มจระนำนี้มีผนังทำเป็นมุมเหลี่ยม ขึ้นไปรองรับองค์ระฆัง และเหนือมุมระหว่างหน้าบันของซุ้มจระนำยังทำเป็นเจดีย์ขนาดเล็ก มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปอีกหลายองค์เรียงรายอยู่โดยรอบ จากนั้นถึงองค์ระฆังทรงกลมร องรับ ปลีย่อส่วนบนสุดมีลักษณะเป็นโลกประดับ ทำนองเป็นฉัตรประดับอีกต่อหนึ่ง จัดเป็นสถาปัตยกรรมแบบอู่ทอง(อยุธยาตอนต้น)ที่นิยมใช้เจดีย์เล็กๆประดับ วิหาร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวัด สันนิฐานว่าเดิมคงสร้างขึ้นพร้อมเจดีย์พระบรมธาตุ แต่มีร่องการการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในระยะหลัง ปัจจุบันพระวิหารดังกล่าวเป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ขนาดกว้าง 13 เมตร ยาว 24 เมตร พระอุโบสถ อยู่ทางด้านใต้ติดกับพระวิหาร เชื่อว่าสร้างกับพระวิหาร มีร่องรอยการบูรณะซ่อมแซมหลายครั้ง ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 24 เมตร มีพระประธานภายในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปแบบสรรคบุรี ลงรักปิดทองขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ลักษณะเป็นเอกลัก ษณ์ของพระพุทธรูปแบบสรรคบุรีโดยเฉพาะ รอบนอกพระอุโบสถมีใยเสมาสลักด้วยหินทราย เป็นศิลปกรรมแบบอยุธยาปรากฏอยู่ แผ่นศิลาจารึก สมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระซึ่งมีข้อความกล่าวงถึงการฉลองการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันแผ่นศิลาจารึกนี้ ประดิษฐานอยู่ที่ฝาผนังวิหารด้านหลังติดกับองค์พระธาตุ การเดินทาง อยู่ห่างจากตัวเมืองชัยนาทประมาณ 4 กิโลเมตร จากอำเภอเมืองใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 340 จนถึงสี่แยกตัดกับเส้นทางหลวงหมายเลข 3183 เลี้ยวซ้ายประมาณ 1 กิโลเมตร หรือรถโดยสารประจำทางสายกรุงเทพฯ วัดสิงห์ Loading... รูปภาพถ่ายสถานที่ท่องเที่ยววัดพระบรมธาตุวรวิหาร ชัยนาท/Information of CHAINAT Wat Phra Borammathat Worawihan วัดพระบรมธาตุวรวิหาร This monastery is accessible through the road branching off from the Chao Phraya Dam on the right to Amphoe Sankha Buri, by following the old road one can see it on the right hand side. เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ ชื่อ / Email ข้อความ ชัยนาท ข้อมูลท่องเที่ยวชัยนาท อำเภอมโนรมย์ เมืองอู่ตะเภา U Taphao City (ชัยนาท) ฟาร์จระเข้วสันต์ Wasan Crocodile Farm (ชัยนาท) อำเภอสรรคบุรี วัดมหาธาตุหรือวัดหัวเมือง Wat Mahathat (ชัยนาท) วัดสองพี่น้อง Wat Song Phi Nong (ชัยนาท) วัดพระแก้ว Wat Phra Kaeo (ชัยนาท) อนุสาวรีย์ขุนสรรค์ Khunsan Statue (ชัยนาท) สวนลิง Monkeys at Wat Thammikawat (ชัยนาท) อำเภอสรรพยา เขื่อนเจ้าพระยา Chao Phraya Dam (ชัยนาท) เขาสรรพยา Sapphaya hill (ชัยนาท) วัดอินทาราม Wat Intharam (ชัยนาท) วัดกรุณา Wat Karuna (ชัยนาท) อำเภอหันคา วัดเขาสารพัดดีศรีเจริญธรรม Wat Khao Saraphat Di Si Charoen Tham (ชัยนาท) วัดพิชัยนาวาส Wat Phichai Na Wat (ชัยนาท) วัดปากคลองมะขามเฒ่า Wat Pak Khlong Makham Tao (ชัยนาท) อำเภอเมือง วัดธรรมามูลวรวิหาร Wat Thammamun Worawihan (ชัยนาท) วัดพระบรมธาตุวรวิหาร Wat Phra Borammathat Worawihan (ชัยนาท) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุนี Chainat Muni National Museum (ชัยนาท) วัดเขาท่าพระ Wat Khao Tha Phra (ชัยนาท) สวนนกชัยนาท Chainat Bird Park (ชัยนาท) แผนที่จังหวัดชัยนาท/map of CHAINAT แผนที่ท่องเที่ยว ชัยนาท แผนที่ท่องเที่ยว ชัยนาท แผนที่ท่องเที่ยว ชัยนาท โรงแรมจังหวัดชัยนาท/Hotel of CHAINAT
วัดพระบรมธาตุชัยนาท เป็นพระอารามหลวงชั้นโท เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ภายในวัดนี้มีเจดีย์พระบรมธาตุรูปแบบสถาปัตยกรรมอู่ทองบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เป็นที่เคารพนับถือของประชาชนในจังหวัดชัยนาท และจังหวัดใกล้เคียง มีงานเทศกาลสมโภชพระบรมธาตุในวั นเพ็ญเดือน 6 เป็นประจำทุกปี สิ่งสำคัญในวัดพระบรมธาตุคือ เจดีย์พระบรมธาตุ องค์พระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ องค์เจดีย์เป็นทรงกลมตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งต่อมุมขึ้นไปรองรับ ใต้องค์ระฆังมีซุ้มจระนำเล็กๆทั้ง 4 ด้าน ภายในประดิษฐาน พระปรางค์นาคปรกทั้ง 4 ทิศ หน้าบันของซุ้มจระนำ มีสองชั้นซ้อนกัน มีปูนปั้นประดับเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิราบเหนือฐานบัวหงาย 4 กลับอยู่ตรงกลาง หน้าตักกว้าง 23 เซนติเมตร สูงจากฐานจรดพระเศียร 31 เซนติเมตร ทรงจีวรแบบห่มตอง หรือห่มเฉียง ผ้าสังฆาฏิพาดลงมาเกือบถึงฝ่าพระบาท ลักษณะของพระเศียรและพระพ ักต์มีเค้าของศิลปะลพบุหรือหรืออู่ทองรุ่นแรก ระหว่างซุ่มจระนำนี้มีผนังทำเป็นมุมเหลี่ยม ขึ้นไปรองรับองค์ระฆัง และเหนือมุมระหว่างหน้าบันของซุ้มจระนำยังทำเป็นเจดีย์ขนาดเล็ก มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปอีกหลายองค์เรียงรายอยู่โดยรอบ จากนั้นถึงองค์ระฆังทรงกลมร องรับ ปลีย่อส่วนบนสุดมีลักษณะเป็นโลกประดับ ทำนองเป็นฉัตรประดับอีกต่อหนึ่ง จัดเป็นสถาปัตยกรรมแบบอู่ทอง(อยุธยาตอนต้น)ที่นิยมใช้เจดีย์เล็กๆประดับ วิหาร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวัด สันนิฐานว่าเดิมคงสร้างขึ้นพร้อมเจดีย์พระบรมธาตุ แต่มีร่องการการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในระยะหลัง ปัจจุบันพระวิหารดังกล่าวเป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ขนาดกว้าง 13 เมตร ยาว 24 เมตร พระอุโบสถ อยู่ทางด้านใต้ติดกับพระวิหาร เชื่อว่าสร้างกับพระวิหาร มีร่องรอยการบูรณะซ่อมแซมหลายครั้ง ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 24 เมตร มีพระประธานภายในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปแบบสรรคบุรี ลงรักปิดทองขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ลักษณะเป็นเอกลัก ษณ์ของพระพุทธรูปแบบสรรคบุรีโดยเฉพาะ รอบนอกพระอุโบสถมีใยเสมาสลักด้วยหินทราย เป็นศิลปกรรมแบบอยุธยาปรากฏอยู่ แผ่นศิลาจารึก สมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระซึ่งมีข้อความกล่าวงถึงการฉลองการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันแผ่นศิลาจารึกนี้ ประดิษฐานอยู่ที่ฝาผนังวิหารด้านหลังติดกับองค์พระธาตุ การเดินทาง อยู่ห่างจากตัวเมืองชัยนาทประมาณ 4 กิโลเมตร จากอำเภอเมืองใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 340 จนถึงสี่แยกตัดกับเส้นทางหลวงหมายเลข 3183 เลี้ยวซ้ายประมาณ 1 กิโลเมตร หรือรถโดยสารประจำทางสายกรุงเทพฯ วัดสิงห์
สิ่งสำคัญในวัดพระบรมธาตุคือ เจดีย์พระบรมธาตุ องค์พระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ องค์เจดีย์เป็นทรงกลมตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งต่อมุมขึ้นไปรองรับ ใต้องค์ระฆังมีซุ้มจระนำเล็กๆทั้ง 4 ด้าน ภายในประดิษฐาน พระปรางค์นาคปรกทั้ง 4 ทิศ หน้าบันของซุ้มจระนำ มีสองชั้นซ้อนกัน มีปูนปั้นประดับเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิราบเหนือฐานบัวหงาย 4 กลับอยู่ตรงกลาง หน้าตักกว้าง 23 เซนติเมตร สูงจากฐานจรดพระเศียร 31 เซนติเมตร ทรงจีวรแบบห่มตอง หรือห่มเฉียง ผ้าสังฆาฏิพาดลงมาเกือบถึงฝ่าพระบาท ลักษณะของพระเศียรและพระพ ักต์มีเค้าของศิลปะลพบุหรือหรืออู่ทองรุ่นแรก ระหว่างซุ่มจระนำนี้มีผนังทำเป็นมุมเหลี่ยม ขึ้นไปรองรับองค์ระฆัง และเหนือมุมระหว่างหน้าบันของซุ้มจระนำยังทำเป็นเจดีย์ขนาดเล็ก มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปอีกหลายองค์เรียงรายอยู่โดยรอบ จากนั้นถึงองค์ระฆังทรงกลมร องรับ ปลีย่อส่วนบนสุดมีลักษณะเป็นโลกประดับ ทำนองเป็นฉัตรประดับอีกต่อหนึ่ง จัดเป็นสถาปัตยกรรมแบบอู่ทอง(อยุธยาตอนต้น)ที่นิยมใช้เจดีย์เล็กๆประดับ วิหาร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวัด สันนิฐานว่าเดิมคงสร้างขึ้นพร้อมเจดีย์พระบรมธาตุ แต่มีร่องการการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในระยะหลัง ปัจจุบันพระวิหารดังกล่าวเป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ขนาดกว้าง 13 เมตร ยาว 24 เมตร พระอุโบสถ อยู่ทางด้านใต้ติดกับพระวิหาร เชื่อว่าสร้างกับพระวิหาร มีร่องรอยการบูรณะซ่อมแซมหลายครั้ง ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 24 เมตร มีพระประธานภายในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปแบบสรรคบุรี ลงรักปิดทองขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ลักษณะเป็นเอกลัก ษณ์ของพระพุทธรูปแบบสรรคบุรีโดยเฉพาะ รอบนอกพระอุโบสถมีใยเสมาสลักด้วยหินทราย เป็นศิลปกรรมแบบอยุธยาปรากฏอยู่ แผ่นศิลาจารึก สมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระซึ่งมีข้อความกล่าวงถึงการฉลองการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันแผ่นศิลาจารึกนี้ ประดิษฐานอยู่ที่ฝาผนังวิหารด้านหลังติดกับองค์พระธาตุ การเดินทาง อยู่ห่างจากตัวเมืองชัยนาทประมาณ 4 กิโลเมตร จากอำเภอเมืองใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 340 จนถึงสี่แยกตัดกับเส้นทางหลวงหมายเลข 3183 เลี้ยวซ้ายประมาณ 1 กิโลเมตร หรือรถโดยสารประจำทางสายกรุงเทพฯ วัดสิงห์
Wat Phra Borammathat Worawihan วัดพระบรมธาตุวรวิหาร This monastery is accessible through the road branching off from the Chao Phraya Dam on the right to Amphoe Sankha Buri, by following the old road one can see it on the right hand side.
เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ