ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี|| ท็อปเชียงใหม่ || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
 
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี

www.dooasia.com > เมืองไทยของเรา > เมืองเก่าของไทย

เมืองเก่าของไทย
ภาคกลาง
กรุงเทพฯ
กาญจนบุรี
จันทบุรี
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ชัยนาท
ตราด
นครนายก
นครปฐม
นนทบุรี
ปทุมธานี
ประจวบฯ
ปราจีนบุรี
เพชรบุรี
ระยอง
ราชบุรี
ลพบุรี
สมุทรปราการ
สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร
สระแก้ว
สระบุรี
สิงห์บุรี
สุพรรณบุรี
อยุธยา
อ่างทอง
อุทัยธานี
ภาคเหนือ
กำแพงเพชร
เชียงราย
เชียงใหม่
ตาก
นครสวรรค์
น่าน
พะเยา
พิจิตร
พิษณุโลก
เพชรบูรณ์
แพร่
แม่ฮ่องสอน
ลำปาง
ลำพูน
สุโขทัย
อุตรดิตถ์
ภาคอีสาน
กาฬสินธุ์
ขอนแก่น
ชัยภูมิ
นครพนม
นครราชสีมา
บุรีรัมย์
มหาสารคาม
มุกดาหาร
ยโสธร
ร้อยเอ็ด
เลย
สกลนคร
สุรินทร์
ศรีสะเกษ
หนองคาย
หนองบัวลำภู
อุดรธานี
อุบลราชธานี
อำนาจเจริญ
ภาคใต้
กระบี่
ชุมพร
ตรัง
นครศรีธรรมราช
นราธิวาส
ปัตตานี
พัทลุง
พังงา
ยะลา
ระนอง
สงขลา
สตูล
สุราษฎร์ธานี

| ย้อนกลับ | หน้าต่อไป |
| พัฒนาทางประวัติศาสตร์ | มรดกทางธรรมชาติ | มรดกทางวัฒนธรรม | มรดกทางพระพุทธศาสนา |

เรื่องจังหวัดลพบุรี

สภาพทางภูมิศาสตร์

            ลพบุรีตั้งอยู่ทางขอบตะวันออกของที่ราบภาคกลางตอนล่าง  มีพื้นที่แผ่ออกไปต่อเนื่องกับขอบที่ราบสูงโคราช  มีแม่น้ำสายสำคัญคือ แม่น้ำลพบุรีและแม่น้ำป่าสักไหลผ่าน  พื้นที่ทางตอนกลางและด้านตะวันออกมีแนวทิวเขาเพชรบูรณ์ และดงพญาเย็นพาดผ่าน  พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนที่ราบสลับเนินเขาและภูเขา  บริเวณที่ราบลุ่มมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 25-60 เมตร  มีแม่น้ำลพบุรีและสาขาไหลผ่าน  บริเวณที่ราบสลับเนินเขาและภูเขา มีความสูงประมาณ 40-600 เมตร จากระดับน้ำทะเล  พื้นที่จะค่อย ๆ สูงไปทางทิศตะวันออก  มีทิวเขาพังเหย และเหวตาบัว  เป็นแนวเขตรอยต่อกับจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดชัยภูมิ
            แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญได้แก่  แม่น้ำ ลำธาร ห้วย คลอง 672 สาย  หนอง บึง  115 แห่ง  น้ำพุ น้ำซับ 14 แห่ง  และมีแหล่งน้ำใต้ดินกระจายอยู่ทั่วไป ในระดับความลึกตั้งแต่ 10-40 เมตร

แม่น้ำลพบุรี

            มีความยาวประมาณ 95 กิโลเมตร แยกสาขามาจาก แม่น้ำเจ้าพระยา ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี ไหลเข้าจังหวัดลพบุรี ในเขตอำเภอท่าวุ้ง แล้วไหลไปรวมกับแม่น้ำป่าสัก ในเขตอำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอยุธยา

แม่น้ำป่าสัก

            มีความยาวประมาณ 513 กิโลเมตร  ต้นน้ำอยู่ที่ทิวเขาเพชรบูรณ์ ในเขตอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย  ไหลเข้าเขตอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี  ผ่านตามแนวเหนือใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร  แล้วออกไปทางจังหวัดสระบุรี  เป็นแม่น้ำที่มีร่องน้ำลึก ตลิ่งสูงชัน ที่ราบลุ่มน้ำมีบริเวณแคบ และคดเคี้ยวปัจจุบันได้สร้างเขื่อนอันเนื่องจากพระราชดำริ คือ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์  เป็นประโยชน์ต่อการป้องกันน้ำท่วมในฤดูน้ำหลาก และต่อการเกษตรกรรม
แม่น้ำบางขาม
            เป็นแม่น้ำสายสั้น ๆ ยาวเพียง 20 กิโลเมตร  มีต้นกำเนิดจากคลอง ในเขตอำเภอบ้านหมี่ ไหลไปรวมกับแม่น้ำลพบุรี ในเขตอำเภอท่าวุ้ง
ลำสนธิ
            มีความยาวประมาณ 70 กิโลเมตร  ต้นน้ำเกิดในเขตเขารวกและเขาพังเหย ทางตอนเหนือของอำเภอชัยบาดาล ต่อกับอำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์  ไหลตามแนวเหนือใต้มาบรรจบกับลำพญากลาง ซึ่งไหลมาจากอำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี  จากนั้นจะไหลไปตามแนวตะวันตก-ตะวันออก  ไปบรรจบแม่น้ำป่าสักในเขตอำเภอชัยบาดาล
            จังหวัดลพบุรีเคยปกคลุมไปด้วยป่าไม้ที่มีค่าทางเศรษฐกิจ  เป็นป่าดิบแล้งผืนใหญ่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำป่าสัก  ป่าแดงหรือป่าเต็งรัง และป่าไม้เบญจพรรณในเขตเชิงเขา เมื่อปี พ.ศ. 2504  มีพื้นที่ป่าอยู่ประมาณร้อยละ 34 ของพื้นที่จังหวัด  แต่ในปี พ.ศ. 2540  เหลือป่าสมบูรณ์อยู่เพียงประมาณร้อยละ 3 ของพื้นที่จังหวัด  ปัจจุบันป่าสงวนแห่งชาติในเขตจังหวัดลพบุรีมี 4 แห่ง รวมพื้นที่ประมาณ 1,776 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,110,000 ไร่  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสลับซับซ้อน  นอกจากนี้ยังมีเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า 1 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าอีก 1 แห่ง

ป่าซับลังกา

            ประกาศเป็นป่าสงวนเมื่อปี พ.ศ. 2502  อยู่ในเขตอำเภอชัยบาดาลและอำเภอลำสนธิมีพื้นที่ประมาณ 398 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 248,000 ไร่  เป็นป่าที่สมบูรณ์ที่สุดของลพบุรี  สภาพภูมิประเทศทางตอนเหนือเป็นเขาสูง  ตอนล่างเป็นที่ราบ  ป่าซับลังกาเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าด้วย
ป่าวังเพลิง ป่าม่วงค่อม และป่าลำนารายณ์
            ประกาศเป็นป่าสงวนเมื่อปี พ.ศ. 2512  อยู่ในเขตอำเภอชัยบาดาล อำเภอสระโบสถ์ อำเภอโคกเจริญ และอำเภอโคกสำโรง  มีพื้นที่ประมาณ 715 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 447,000 ไร่  สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบสลับภูเขา
ป่าชัยบาดาล
            ประกาศเป็นป่าสงวน เมื่อปี พ.ศ. 2527  อยู่ในเขตอำเภอชัยบาดาล  อำเภอท่าหลวง  อำเภอพัฒนานิคม และอำเภอสำสนธิ มีพื้นที่ประมาณ 635 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 397,000 ไร่  สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบ
ป่าเขาพะเนียด
            ประกาศเป็นป่าสงวนเมื่อปี พ.ศ. 2529  อยู่ในเขตอำเภอโคกสำโรง  มีพื้นที่ประมาณ 28 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 18,000 ไร่  สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาลูกเดียวโดด ๆ

เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาสมโภชน์

            อยู่ในเขตอำเภอชัยบาดาล  มีพื้นที่ประมาณ 14 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 9,000 ไร่  เขาสมโภชน์เป็นภูเขาหินปูน  ทอดยาวไปตามแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกเฉียงใต้  มีลักษณะสูงชัน  มีถ้ำและหน้าผาจำนวนมาก  เป็นป่าธรรมชาติที่เหลืออยู่แห่งเดียวในรัศมี 200 กิโลเมตร จากกรุงเทพ ฯ

| ย้อนกลับ | หน้าต่อไป | บน |


 
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์