ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี|| ท็อปเชียงใหม่ || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
 
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี

www.dooasia.com > เมืองไทยของเรา > เมืองเก่าของไทย

เมืองเก่าของไทย
ภาคกลาง
กรุงเทพฯ
กาญจนบุรี
จันทบุรี
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ชัยนาท
ตราด
นครนายก
นครปฐม
นนทบุรี
ปทุมธานี
ประจวบฯ
ปราจีนบุรี
เพชรบุรี
ระยอง
ราชบุรี
ลพบุรี
สมุทรปราการ
สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร
สระแก้ว
สระบุรี
สิงห์บุรี
สุพรรณบุรี
อยุธยา
อ่างทอง
อุทัยธานี
ภาคเหนือ
กำแพงเพชร
เชียงราย
เชียงใหม่
ตาก
นครสวรรค์
น่าน
พะเยา
พิจิตร
พิษณุโลก
เพชรบูรณ์
แพร่
แม่ฮ่องสอน
ลำปาง
ลำพูน
สุโขทัย
อุตรดิตถ์
ภาคอีสาน
กาฬสินธุ์
ขอนแก่น
ชัยภูมิ
นครพนม
นครราชสีมา
บุรีรัมย์
มหาสารคาม
มุกดาหาร
ยโสธร
ร้อยเอ็ด
เลย
สกลนคร
สุรินทร์
ศรีสะเกษ
หนองคาย
หนองบัวลำภู
อุดรธานี
อุบลราชธานี
อำนาจเจริญ
ภาคใต้
กระบี่
ชุมพร
ตรัง
นครศรีธรรมราช
นราธิวาส
ปัตตานี
พัทลุง
พังงา
ยะลา
ระนอง
สงขลา
สตูล
สุราษฎร์ธานี

| ย้อนกลับ | หน้าต่อไป |
| พัฒนาทางประวัติศาสตร์ | มรดกทางธรรมชาติ | มรดกทางวัฒนธรรม | มรดกทางพระพุทธศาสนา |

การละเล่นพื้นบ้าน นาฎศิลป์ และดนตรี
            การละเล่นพื้นบ้านของจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีหลายอย่างนิยมเล่นกันในเทศกาลว่างจากการประกอบอาชีพ เช่น เทศกาลตรุษสงกรานต์ ที่ชาวบ้านเรียกว่า ปอยเหลินห้า คืองานสนุกสนานในเดือนห้า นอกจากจะมีการสรงน้ำพระพุทธรูป สรงน้ำพระภิกษุ รดน้ำดำหัว ฯลฯ แล้ว กลุ่มหนุ่มสาวจะนิยมจับกลุ่มเล่น การละเล่นต่าง ๆ ตามประเพณี ส่วนในโอกาสที่ไม่มีตามประเพณี กลุ่มเด็ก ๆ ขัเล่นกันตามโรงเรียน ลานวัด หรือลานเอกประางค์ของหมู้บ้าน
            การละเล่นของเด็ก  มีอยู่เป็นจำนวนมากหลายอย่าง เหมือนกับในภาคอื่น ๆ แต่มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป
            การละเล่นของผู้ใหญ่  หลายอย่างเช่นเดียวกับในภาคอื่น ๆ แต่มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป
            นาฎศิลป์และดนตรี

                มองกาก  เป็่นดนตรีจากเศษไม้ไผ่เหลือใช้จากการต่อแพ หรือจากการทำกิจกรรมอื่น หลังจากล่องแพหรือหยุดพักจากงานอื่น การทำมองกาก จะตัดไม้ไผ่ยาวประมาณ ๑ ศอก ให้ด้านหนึ่งมีตา ตัดเว้า ด้านกระบอกเหลือกระบอกไว้ประมาณ ๑ คืบ เคาะฟังเสียงดู ตกแต่งการให้เสียงโดยวิธีผ่าปากกระบอก และความหนาของปากกระบอกให้สามารถทำเสียงได้ตามต้องการ
                    วิธีเล่น  ใช้มองกาก สองอัน เคาะเป็นจังหวะดนตรี พร้อมกับเต้นไปตามจังหวะด้วย จบแล้วสลับรายการโดยการเฮ็ดความ (ร้องเพลงพื้นบ้าน)  จังหวะดนตรีมอกกากมีสามจังหวะด้วยกันคือ จังหวะช้า เลียบเสียงกลองมองเชิง จังหวะเร็ว เลียนเสียงกลองก้นยาว และจังหวะนกหมาปุ๊ก เลียนเสียงนกหมาปุ๊ก
                    แต่เดิมมองกากไม่ได้ใช้การแสดง แต่จะใช้สำหรับการละเล่นสนุกสนานยามพักผ่อนของกองคาราวานแพที่ล่องไปตามลำน้ำปาย น้ำยวมและน้ำคง (สาละวิน) เพื่อนำสินค้าไปขาย ตกตอนเย็นกินอาหารเย็นแล้วก็จะตั้งวงสนทนากัน ใครมีความรู้ด้านดนตรี ร้องเพลงก็แสดงออกมาสลับด้วยการเล่นนิทาน หรือเล่าเรื่องต่างบ้านต่างเมือง ที่ได้ไปพบเห็นมาแล้วนำมาเล่าสู่กันฟัง

                        - การแสดงจ๊าคไต (ลิเกไทยใหญ่)  เป็นการแสดงชุดใหญ่ ประกอบด้วยผู้แสดงทั้งหญิงชายจำนวน ๒๐ - ๕๐ คน หรือมากกว่าขึ้นอยู่กับคณะจ๊าค
                        องค์ประกอบจาคไต คล้ายกับคณะลิเกของภาคกลาง ประกอบด้วยชุดนักแสดง ชุดดนตรี มีฉาก เวที มีการแต่งกายตามท้องเรื่องที่แสดง
                        การแสดงจะเริ่มด้วยพิธีไหว้ครู มีเครื่องเซ่นไหว้ตามประเพณีไต (ไทยใหญ่) ประกอบด้วยกล้วย มะพร้าว หมาก พลู บุหรี่ เมี่ยง ผ้าขาว เทียน ธูป บรรจุไว้ในกะละมังขนาดกลาง เมื่อหัวหน้าคณะหรือผู้อาวุโสในคณะทำพิธีไหว้ระลึกถึงครูสุรคติ (วิญญาณศักดิ์สิทธิ์ที่นักแสดงเคารพนับถือ) เส็จแล้วมีการร่ายรำเป็นชุดเพื่อบูชาครู กาแสดงหลังจากนั้นจะมีการร้องเพลงโดนนักร้องของคณะสับเปลี่ยนกันออกมาร้องเพลง ส่วนใหญ่จะเป็นการร้องแสดงความชื่นชมต่องานที่จัดขอบคุณผู้ชม ต่อจากนั้นก็จะเป็นการแสดงตามเนื้อเรื่อง
                        เรื่องที่ใช้แสดงส่วนใหญ่จะเป็นชาดกในพระพุทธศาสนนา เช่น เวสสันดรชาดก ทศชาติหรือเรื่องในวรรณคดี หรือเรื่องที่คิดขึ้นใหม่ให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน มักพูดเรื่องให้มีคติสอนใจให้ทำดี
                        ตอนท้ายของการแสดงแต่ละคืนมักจะเป็นการร้องเพลงตามคำขอของผู้ชม หากมีผู้ขอเพลงมากการแสดงก็จะยืดเยื้อไปจนถึงตีหนึ่งหรือมากกว่า
                        - การฟ้อนรำ ภาษาไต (ไทยใหญ่) เรียกว่า ถ้าการฟ้อนรำของคนไตมีลีลาอ่อนช้อยสวยงาม มีจังหวะดนตรี เรียกชื่อการฟ้อนรำต่าง ๆ คือ

                               ก้าแลว  คือการฟ้อนดาบ ประยุกต์มาจากลีลาการฟ้อนดาบ ที่เคยใช้เป็นแม่ไม้ต่อสู้ป้องกันตัวมาเป็นการร่ายรำที่มีดาบเป็นอุปกรณ์ด้วยลีลาที่อ่อนช้อย นิ่มนวล ไม่ดุดันเหมือนที่ใช้ในการต่อสู้
                               ก้าลาย หรือลายก้า  เป็นการฟ้อนรำที่ประยุกต์จากลีลาการต่อสู้ด้วยมือเปล่า หรือใช้ค้อนเป็นอาวุธ มาเป็นการร่ายรำที่อ่อนช้อยสวยงาม

                               ก้านก  เป็นการฟ้อนรำที่ผู้ฟ้อนแต่งกายเลียนแบบนกในนิยายที่คนไตเรียกว่า กิ่งกะหร่าและร่ายรำตามจังหวะดนตรีและออกท่าทางเลียนแบบกิริยาการของนก หรือสัตว์ในนิยายอย่างอื่นที่จินตนาการขึ้นมา

                               การฟ้อนรำอื่น ๆ  เป็นการฟ้อนรำชนิดต่าง ๆ ตามจังหวะดนตรีเช่นฟ้อนรำตามจังหวะกองก้นยาวเรียกว่า ก้าก๋องก้นยาว ฟ้อนรำกลองมองเชิง เรียกว่าก๋ากองมองเชิง หรือฟ้อนรำตามจังหวะดนตรีสมัยใหม่ ซึ่งจะรำเป็นชุด (คณะ) ละ ๑๐ คน หรือมากกว่าหรือรำเดี่ยวก็ได้

            ติ่งตุง  เป็นเครื่องดนตรี มีลักษณะการใช้และโอกาสที่ใช้ตลอดจนประวัติความเป็นมาเหมือนกับมองกาก
                วิธีทำ  เลือกไม้ไผ่ที่มีลำต้นใหญ่ ไม่หนามาก นำมาตัดเป็นท่อนให้มีตาอยู่หัวท้ายทั้งสองข้าง ตรงกลางเจาะเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ขนาด ๑  ๑.๕ นิ้ว ใช้ปลายมีดหรือเหล็กแหลมแทงผิวไม้ไผ่ข้างช้องงัดขึ้นมาให้เป็นเส้นเล็กขนาดเชือกมัดของสำหรับเป็นลายเครื่องทำเสียง สานตะกร้าเล็ก ๆ ปิดช่องตรงกลางให้มิด โดยสานเป็นตะแกรงติดเส้นไม้ไผ่ทั้งสองข้างให้ตะแกรงปิดช่องพอดี
                วิธีเล่น ใช้มือกดดีดด้านข้างของตะแกรง จะมีเสียงดังคล้ายเสียงดนตรีและบรรเลงตามจังหวะเสียงดนตรีคือกลองก้นยาวและกลองมองเชิง การเล่นติงตุง จะเล่นในเวลาอยู่คนเดียวหรือเป็นกลุ่มผลัดกันเล่นก็ได้ จะเล่นหลังการงานในทุ่งนาในตอนกลางวัน เล่นเพื่อผ่อนคลายและเพื่อความสนุกสนาน หรือเมื่อเดินทางไปค้างแรมตามป่าตามผา
                การร้องเพลงพื้นบ้าน (เฮ็ดกราม) เป็นศิลปพื้นบ้านที่นิยมกันมากในอดีต ประกอบด้วยลีลาท่วงทำนองหลายอย่าง คนไตมีอารมณ์ศิลปิน เมื่อเกิดความประทับใจอะไรมักจะร้องเพลงแสดงความรู้สึกมีทั้งชื่นชมยินดี รัก ผิดหวัง เศร้าใจ เสียใจ ฯลฯ

| ย้อนกลับ | หน้าต่อไป | บน |


 
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์